|
|
|
|
|
|
|
|
ผลิตภัณฑ์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลิงค์อื่นๆที่น่าสนใจ |
|
Thaitambon.com |
|
สำนักงานวัฒนธรรม จ.ระยอง |
|
พัฒนาชุมชนจังหวัดระยอง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เกี่ยวกับเรา |
|
|
|
|
บ้านมาบเหลาชะโอนมีบึงน้ำสาธารณะขนาดใหญ่ ชื่อว่า "บึงสำนักใหญ่" หรือหนองจำรุง มีพื้นที่ 3,871 ไร่ ซึ่งอุดมสมบูรณ์ไปด้วยปลาน้ำจืดและต้นกระจูดจำนวนมาก ซึ่งแต่เดิมชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์จากต้นกระจูด ในการผูกมัดสิ่งของต่าง ๆ สานเป็นเสื่อและกระสอบใส่น้ำตาลและเป็นของบรรณาการ
มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา นับเป็นเวลากว่า 200 ปี มาแล้ว |
|
|
|
|
|
|
|
|
การสานเสื่อกระจูดเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของชาวบ้านมาบเหลาชะโอน มาเป็นเวลานานกว่า 200 ปี และสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน เริ่มต้นมีการสานเพื่อไว้ใช้ในครอบครัว ต่อมามีพ่อค้ามารับไปขายอีกที จึงทำให้มีรายได้หลังจากการทำสวนและด้วยเหตุผลที่ในหมู่บ้านมีบึงกระจูด ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติกว่า 1,000 ไร่ ประกอบกับรัฐบาลได้จัดตั้งและสนับสนุนโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ของชาวบ้านนี่เอง
ชาวบ้านจึงได้จัดตั้งกลุ่มจักสานกระจูดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2544 เริ่มต้นจากการมีสมาชิก 17 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่บ้าน และนำเอาวัตถุดิบที่มีมากมายมาแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับกลุ่มสมาชิก ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ความภาคภูมิใจของเรา |
|
|
การอบรมให้ความรู้ |
|
|
การสาธิตการผลิต |
|
|
ต้นกระจูด |
|
|
|